การเขียนรายงานโครงการ
การค้นคว้าและเรียบเรียงงานทางวิชาการนั้น ไม่ว่าจะเป็นบทความ รายงานประกอบการเรียนโครงการและตำรา เหล่านี้ล้วนแต่ใช้วิธีเดียวกันจะต่างกันก็ตรงรูปแบบและวิธีเขียน บทนำนี้มีความมุ่งหมายจะปูพื้นให้เห็นรูปแบบของงานที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม โดยใช้รายงานประกอบการเรียนเป็นแม่แบบ ทั้งนี้เพราะการเขียนรายงานเป็นจุดเริ่มต้นของการส่งเสริมประสบการณ์ในการสร้างงานทางวิชาการที่มีคุณภาพ และยังเป็นงานที่ผู้เรียนที่จะเป็นนักวิชาการในอนาคตต้องคลุกคลีทำอยู่เป็นประจำโดยตลอด เมื่อพื้นฐานดี มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับกระบวนวิธีการดีแล้วการทำงานใหญ่ถึงขั้นเขียนตำรา ก็ย่อมทำได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ เพียงแต่ปรับรูปแบบให้เหมาะแก่ลักษณะของงานนั้น ๆ เท่านั้น
เนื้อหาชองบทนำจะกล่าวเฉพาะลักษณะและรูปแบบของรายงานประกอบการเรียนอย่างไรก็ดีรูปแบบที่นำมาเสนอนี้เป็นเพียงรูปแบบหนึ่งเพื่อการศึกษาเท่านั้นซึ่งสถานศึกษาแต่ละแห่งจะกำหนดรูปแบบของรายงานไว้เป็นบรรทัดฐานของตนเอง จึงแตกต่างในรายละเอียด แต่ในหลักการหรือโครงสร้างหลักแล้วจะไม่แตกต่างกัน
1. รูปแบบของโครงการ
1.1 กระดาษรายงาน โดยทั่วไปนิยมใช้กระดาษปอนด์ 70 แกรม ขนาด A4 และพิมพ์หน้าเดียว
1.2 การจัดหน้า
1.2.1 การจัดขอบ เว้นที่ว่างเป็นของขอบบนและขอบซ้ายมือเว้น 1.5 นิ้ว และขอบขวาเว้น 1 นิ้ว ยกเว้นขึ้นหน้าใหม่เว้น 2 นิ้ว
1.2.2 การจัดตำแหน่งของหัวข้อ
(1) ชื่อบทหรือชื่อเรื่องตั้งกลางหัวกระดาษ ต่ำจากขอบบนของกระดาษ 2 นิ้ว
(2) หัวข้อใหญ่ เขียนชิดเส้นคั่นหน้า ตั้งโดด ๆ ไม่มีข้อความใด ๆ ต่อท้ายควรเว้นบรรทัดห่างจากชื่อบทมากกว่าปกติ 1 บรรทัด
(3) หัวข้อรองย่อประมาณ 3-5 ตัวอักษร
(4) หัวข้อย่อยย่อประมาณ 7-10 ตัวอักษร
1.2.3 การวางตำแหน่งเลขหน้า
(1) ต่ำจากขอบบนของกระดาษ 1 นิ้ว และอยู่เสมอแนวเส้นขอบหลัง หรือจะลงไว้กลางหน้ากระดาษก็ได้
(2) หน้าใดมีหัวข้อกระดาษหน้านั้นไม่ต้องลงเลขหน้าให้นับต่อเนื่องกัน
ส่วนประกอบของรายงานฉบับสมบูรณ์
รูปเล่มที่สมบูรณ์ของรายงาน ที่ผู้เรียนจะต้องส่งให้แก่แผนกเทคนิคโลหะ จะประกอบไปด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้
1. ส่วนนำ
2. ส่วนเนื้อความ
3. ส่วนอ้างอิง
4. ส่วนภาคผนวก
5. ประวัติผู้เขียน
1. ส่วนนำ
ในส่วนนี้จะหมายถึงส่วนต่าง ๆ ในตอนต้นของรายงาน ซึ่งนับตั้งแต่ปกนอก ปกในกิตติกรรมประกาศ หน้าอนุมัติ บทคัดย่อ และสารบัญ โดยมีส่วนประกอบและรายละเอียดเรียงตามลำดับ ดังนี้
กกกกกก1.1 ปกนอก จะมีแบบฟอร์มการเขียนและพิมพ์ ตามตัวอย่างการพิมพ์ในบทที่ 3 อย่างไรก็ตาม ผู้เรียนจะทำการเย็บเล่มและทำปกนอกได้ต่อเมื่อรายงานได้ผ่านการสอบและแก้ไขแล้วซึ่งจะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการการสอบด้วย สีของปกนอกจะต้องเป็นสีน้ำเงินเข้ม มีการพิมพ์ตัวอักษรเดินทางบนหน้าปกตามตัวอย่างรูปแบบปกนอกและพิมพ์ที่สันปกเป็นตัวอักษรเดินทองเช่นเดียวกัน โดยพิมพ์เป็นแถวเดียวลำดับคือ ชื่อแผนกวิชาย่อ ชื่อหัวข้อ ชื่อผู้เขียน (คนเดียวให้ใส่นามสกุล ถ้า 2 คนอย่างเดียว) ปี พ.ศ. ที่ส่งงาน
กกกกกก1.2 ปกใน (หน้า ก, ข) ลักษณะแบบฟอร์มการเขียนหรือพิมพ์จะเป็นเช่นเดียวกับปกนอกเพียงแต่ว่าอักษรจะพิมพ์ธรรมดา ซึ่งอยู่ส่วนในต่อจากปกนอก สำหรับปกในนี้จะมี 2 แผ่น คือ แผนที่หนึ่งจะพิมพ์เป็นภาษาไทยและแผนที่สองจะพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษให้ใช้คำนำหน้านามเป็น นาย, นางสาว หรือนางอย่างใดอย่างหนึ่ง
กกกกกก1.3 หน้าอนุมัติ (หน้า ค) ให้ดูตัวอย่างแบบฟอร์มการพิมพ์ ซึ่งรายชื่อคณะกรรมการการสอบรายงาน แผนกวิชาจะติดประกาศให้ทราบ พร้อมทั้งกำหนดวันสอบ เวลา และห้อง ขอให้ผู้เรียนพิมพ์ชื่อของประธานกรรมการทุกท่านให้ถูกต้อง และจะต้องให้กรรมการเซ็นชื่อกำกับทุกท่าน (ยกเว้นหัวหน้าแผนกเทคนิคโลหะ) หลังจากการผ่านการแก้ไขรายงานและอนุมัติแล้ว ก่อนที่จะนำไปเข้าปก แบบฟอร์มของแผนกและวิทยาลัยต่าง ๆ จะมีความแตกต่างกันผู้เรียนจะต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง
กกกกกก1.4 บทคัดย่อ (หน้า ง)การเขียนข้อความในบทคัดย่อ ต้องเขียนให้ได้ใจความกระชับที่สุดเพื่อให้ผู้อ่านสามารถมองเห็นขอบเขตของงานที่ผู้เรียนได้ทำเนื้อหาของบทคัดย่อควรประกอบไปด้วยรายงานที่ทำ มีขนาดหรือพิกัดมากน้อยแค่ไหน ไปใช้กับอะไร มีส่วนประกอบหรือแผนกอะไรที่ทำให้เป็นระบบขึ้น มีผลการทดสอบและได้ผลเป็นอย่างไรและเทียบกับวิธีอื่นให้ผลแตกต่างกันเป็นอย่างไรบ้าง เป็นต้น อาจจะเขียนให้มากกว่านี้ตามความเหมาะสม แต่ทั้งนี้ความยาวของบทคัดย่อไม่ควรเกินกว่า 2 หน้ากระดาษพิมพ์และไม่ควรมีรูปภาพหรือตารางประกอบ ขอให้พึงระลึกเสมอว่าการเขียนบทคัดย่อควรเขียนหลังจากรายงานได้เสร็จตามขอบเขตของงานหรือวัตถุประสงค์แล้วซึ่งแสดงตัวอย่างแบบฟอร์มการพิมพ์ของหน้าบทคัดย่อ
กกกกกก1.5 กิตติกรรมประกาศ (หน้า จ) เป็นข้อความที่กล่าวขอบพระคุณผู้ช่วยเหลือไม่ว่าจะเป็นด้านใดก็ตามที่ให้ความรู้ ความสะดวก หรือเอกสารบางอย่างที่จำเป็นต่อการค้นคว้า ทั้งนี้ ผู้เรียนสามารถเขียนรายละเอียดส่วนอื่นได้ แต่ต้องอยู่ภายในขอบเขตของข้อความที่เป็นกิตติกรรมประกาศ ปกติไม่ควรเขียนเกิน 1 หน้ากระดาษพิมพ์
กกกกกก1.6 สารบัญ เป็นอีกหน้าหนึ่งที่ต้องพิมพ์ตามแบบฟอร์ม ดังแสดงไว้ในตัวอย่างแบบฟอร์มการพิมพ์ของหน้าสารบัญ เมื่อดูตัวอย่างแล้ว บทคัดย่อจะเริ่มเป็นลำดับแรก ซึ่งตรงกับหน้า (ง) เสมอ
กกกกกก1.7 สารบัญภาพ เป็นสารบัญที่แสดงเฉพาะหน้าที่มีรูปภาพทั้งหมดในส่วนของเนื้อความไม่รวมถึงภาพผนวก ภาพประกอบในที่นี้ หมายถึง ภาพลายเส้น ภาพเขียน ภาพถ่าย แผนภาพ (Diagram) กราฟ แผนภูมิ และอื่น ๆ การเรียงลำดับเลขที่ของภาพก็ให้ยึดถือ รูปแบบเหมือนกับสารบัญตาราง ตัวอย่างเช่น ต้องการเขียนเลขที่ของภาพซึ่งเป็นภาพลำดับ 10 ของบทที่ 2
2. ส่วนเนื้อความ
ในส่วนนี้ก็คือบทต่าง ๆ ของเนื้อเรื่องที่ผู้เรียงจะต้องเขียนและจัดพิมพ์ซึ่งรายละเอียดของแต่ละบทจะมีการเขียนหรือกล่าวถึง ดังนี้
กกกกกกกก2.1 บทที่ 1 บทนำ รายงานฉบับสมบูรณ์ทุกเล่มจะเริ่มบทที่ 1 ด้วยบทนำเสมอซึ่งจะกล่าวถึงความเป็นมาของความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์และขอบเขตของรายงานค้นคว้าและวิจัยวิธีการที่ดำเนินการวิจัยโดยย่อ การสำรวจและวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และประโยชน์ที่จะได้จากรายงานเนื้อเรื่องเหล่านี้ให้เขียนเป็นหัวข้อย่อยของบทนี้ (ขอให้ดูตัวอย่างหน้าสารบัญ)
กกกกกกกก2.4 บทที่ 4 เป็นเนื้อเรื่องที่เกี่ยวกับผลของการทดลอง หรือทดสอบรายงานนั้น ๆ นับว่าเป็นหัวใจของงานหรือรายงานทีเดียว ฉะนั้นควรมีรายละเอียดมากพอสมควร โดยกล่าวถึงวิธีการทดลองว่ามีกี่วิธี ลักษณะวงจรการทดลองหรือทดสอบ มีผลหือลักษณะทางด้านออก (Output Characteristic) อย่างไร มีรูปคลื่น (Waveform) ที่สำคัญ ๆ ในแต่ละแผนกและมีประสิทธิภาพของเครื่องเช่นไร เป็นต้น ผู้เรียนควรจะมีการสร้างตารางที่ใช้ในการทดลอง เพื่อสะดวกต่อการบันทึกค่าและดูได้ง่าย รวดเร็วสำหรับผู้สนใจรายละเอียดอื่น ๆ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้สอนที่ปรึกษารายงาน
กกกกกกกก2.5 บทที่ 5 สำหรับในเนื้อเรื่องบทนี้จะกล่าวถึง สรุปผลการทดลองหรือทดสอบข้อเสนอแนะในการทำรายงานครั้งต่อไปเพื่อพัฒนาให้ดีขึ้น หรือเพิ่มขีดความสามารถและประสิทธิภาพให้มากขึ้น และอุปสรรคในการทำรายงาน (ถ้ามี) การสรุปผลควรระบุให้ชัดเจนว่าเป็นไปตามหรือสอดคล้องกับขอบเขตของการทำรายงานในบทที่ 1 หรือไม่ และถ้าไม่เป็นไปตามหรือไม่ครบขอบเขตของงาน เนื่องจากเหตุผลอะไร การสรุปผลที่ดีจะต้องเป็นขั้นตอนที่สรุปเรื่องราวที่สำคัญ ๆ ในการทำรายงานทั้งหมด
กกกกกกกกจากที่ได้กล่าวมาในเนื้อความรายงายนี้ อาจจะมีแบ่งบทให้มากกว่านี้ก็ได้ตามความเหมาะสมทั้งนี้จะต้องมีเนื้อเรื่องครอบคลุมอย่างน้อย 5บทตามที่ได้กล่าวมา ซึ่งในแต่ละบทจะต้องมี คำนำประจำบท เสมอ สำหรับคำนำของบทที่ 1 ก็เป็นความเป็นมาและความสำคัญของปัญหานั่นเอง
3. ส่วนอ้างอิง
กกกกกกกกในการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ จำเป็นต้องมีการอ้างอิงเอกสารต่าง ๆ ที่ผู้เรียนไปคัดลอกข้อมูลมา ทั้งนี้ก็เพื่อแสดงหลักฐานที่มาของข้อมูลนั้น เป็นแหล่งที่ผู้สนใจสามารถอ่านเพิ่มเติมต่อไปได้ส่วนนี้จะปรากฏอยู่ต่อจากบทสุดท้ายของส่วนเนื้อความ
กกกกกกกก3.1 เอกสารอ้างอิง (References) หมายถึง รายชื่อเอกสารที่ใช้เป็นหลักฐานค้นคว้าประกอบการเรียบเรียงและมีการอ้างอิงอยู่ในรายงาน ได้แก่ รายชื่อหนังสือ บทความในวารสาร หรือการประชุมสัมมานาทางวิชาการ และวิทยานิพนธ์ เป็นต้น ส่วนใหญ่เอกสารอ้างอิงจะใช้สำหรับการทำรายงาน ในสาขาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์
กกกกกกกก3.2 บรรณานุกรม (Bibliography) หมายถึง รายชื่อของแหล่งความรู้ที่นำมาจัดทำรายงายเรียบเรียงลำดับอักษรของผู้แต่ง มีทั้งประเภทสิ่งตีพิมพ์และไม่ตีพิมพ์ เช่น รายชื่อหนังสือบทความในวารสาร บทความในหนังสืออ้างอิง สิ่งตีพิมพ์อื่น ๆ โสตทัศนวัสดุ รวมทั้งที่ได้จากการฟังการบรรยายและการสัมภาษณ์ เป็นต้น
*สำหรับรายงานฉบับสมบูรณ์จะใช้แต่แบบที่เป็นเอกสารอ้างอิงเท่านั้น
กกกกกกกก3.3 การเขียน “เอกสารอ้างอิง”
กกกกกกกกกกกการเขียน “เอกสารอ้างอิง” ท้ายเล่ม ให้เขียนบันทึกรายการของเอกสารที่อ้างอิงตามลำดับหมายเลขของการอ้างอิงเอกสารในเนื้อหา ในกรณีที่เอกสารภาษาต่างประเทศให้เขียนชื่อท้ายของผู้แต่งขึ้นก่อน ทั้งนี้ไม่จำเป็นต้องจำแนกประเภทของเอกสาร ใช้วิธีเมื่อใช้การอ้างอิงแบบแทรกปนในเนื้อหาด้วยระบบหมายเลข
กกกกกกกก3.4 การอ้างอิงแบบแทรกปนในเนื้อหาด้วยระบบหมายเลข
กกกกกกกกกกกในการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ ให้เขียนการอ้างอิงแทรกบนในเนื้อหาเท่านั้น โดยให้ระบุหมายเขเอกสารที่อ้างอิง ด้วยตัวเลขอารบิก ในเครื่องหมายวงเล็บสี่เหลี่ยม เช่น [1], [2] เป็นต้น ไว้ท้ายชื่อหรือข้อความที่อ้างอิงในเนื้อหา การอ้างอิงแบบแทรกปนไปในเนื้อหาด้วยระบุหมายเลขนี้ เมื่อได้กำหนดเลขใดให้เอกสารใดแล้วทุกครั้งที่อ้างถึงเอกสารเล่มเดิมซ้ำตามที่ต่าง ๆ ในรายงานจะต้องใช้หมายเลขเดิมกำหนดขึ้นไว้แล้วสำหรับเอกสารนั้น แต่หมายเลขหน้าจะเปลี่ยนแปลงไปได้ตามข้อความที่ผู้เขียนต้องการจะอ้างอิงถึง
การค้นคว้าและเรียบเรียงงานทางวิชาการนั้น ไม่ว่าจะเป็นบทความ รายงานประกอบการเรียนโครงการและตำรา เหล่านี้ล้วนแต่ใช้วิธีเดียวกันจะต่างกันก็ตรงรูปแบบและวิธีเขียน บทนำนี้มีความมุ่งหมายจะปูพื้นให้เห็นรูปแบบของงานที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม โดยใช้รายงานประกอบการเรียนเป็นแม่แบบ ทั้งนี้เพราะการเขียนรายงานเป็นจุดเริ่มต้นของการส่งเสริมประสบการณ์ในการสร้างงานทางวิชาการที่มีคุณภาพ และยังเป็นงานที่ผู้เรียนที่จะเป็นนักวิชาการในอนาคตต้องคลุกคลีทำอยู่เป็นประจำโดยตลอด เมื่อพื้นฐานดี มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับกระบวนวิธีการดีแล้วการทำงานใหญ่ถึงขั้นเขียนตำรา ก็ย่อมทำได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ เพียงแต่ปรับรูปแบบให้เหมาะแก่ลักษณะของงานนั้น ๆ เท่านั้น
เนื้อหาชองบทนำจะกล่าวเฉพาะลักษณะและรูปแบบของรายงานประกอบการเรียนอย่างไรก็ดีรูปแบบที่นำมาเสนอนี้เป็นเพียงรูปแบบหนึ่งเพื่อการศึกษาเท่านั้นซึ่งสถานศึกษาแต่ละแห่งจะกำหนดรูปแบบของรายงานไว้เป็นบรรทัดฐานของตนเอง จึงแตกต่างในรายละเอียด แต่ในหลักการหรือโครงสร้างหลักแล้วจะไม่แตกต่างกัน
1. รูปแบบของโครงการ
1.1 กระดาษรายงาน โดยทั่วไปนิยมใช้กระดาษปอนด์ 70 แกรม ขนาด A4 และพิมพ์หน้าเดียว
1.2 การจัดหน้า
1.2.1 การจัดขอบ เว้นที่ว่างเป็นของขอบบนและขอบซ้ายมือเว้น 1.5 นิ้ว และขอบขวาเว้น 1 นิ้ว ยกเว้นขึ้นหน้าใหม่เว้น 2 นิ้ว
1.2.2 การจัดตำแหน่งของหัวข้อ
(1) ชื่อบทหรือชื่อเรื่องตั้งกลางหัวกระดาษ ต่ำจากขอบบนของกระดาษ 2 นิ้ว
(2) หัวข้อใหญ่ เขียนชิดเส้นคั่นหน้า ตั้งโดด ๆ ไม่มีข้อความใด ๆ ต่อท้ายควรเว้นบรรทัดห่างจากชื่อบทมากกว่าปกติ 1 บรรทัด
(3) หัวข้อรองย่อประมาณ 3-5 ตัวอักษร
(4) หัวข้อย่อยย่อประมาณ 7-10 ตัวอักษร
1.2.3 การวางตำแหน่งเลขหน้า
(1) ต่ำจากขอบบนของกระดาษ 1 นิ้ว และอยู่เสมอแนวเส้นขอบหลัง หรือจะลงไว้กลางหน้ากระดาษก็ได้
(2) หน้าใดมีหัวข้อกระดาษหน้านั้นไม่ต้องลงเลขหน้าให้นับต่อเนื่องกัน
ส่วนประกอบของรายงานฉบับสมบูรณ์
รูปเล่มที่สมบูรณ์ของรายงาน ที่ผู้เรียนจะต้องส่งให้แก่แผนกเทคนิคโลหะ จะประกอบไปด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้
1. ส่วนนำ
2. ส่วนเนื้อความ
3. ส่วนอ้างอิง
4. ส่วนภาคผนวก
5. ประวัติผู้เขียน
1. ส่วนนำ
ในส่วนนี้จะหมายถึงส่วนต่าง ๆ ในตอนต้นของรายงาน ซึ่งนับตั้งแต่ปกนอก ปกในกิตติกรรมประกาศ หน้าอนุมัติ บทคัดย่อ และสารบัญ โดยมีส่วนประกอบและรายละเอียดเรียงตามลำดับ ดังนี้
กกกกกก1.1 ปกนอก จะมีแบบฟอร์มการเขียนและพิมพ์ ตามตัวอย่างการพิมพ์ในบทที่ 3 อย่างไรก็ตาม ผู้เรียนจะทำการเย็บเล่มและทำปกนอกได้ต่อเมื่อรายงานได้ผ่านการสอบและแก้ไขแล้วซึ่งจะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการการสอบด้วย สีของปกนอกจะต้องเป็นสีน้ำเงินเข้ม มีการพิมพ์ตัวอักษรเดินทางบนหน้าปกตามตัวอย่างรูปแบบปกนอกและพิมพ์ที่สันปกเป็นตัวอักษรเดินทองเช่นเดียวกัน โดยพิมพ์เป็นแถวเดียวลำดับคือ ชื่อแผนกวิชาย่อ ชื่อหัวข้อ ชื่อผู้เขียน (คนเดียวให้ใส่นามสกุล ถ้า 2 คนอย่างเดียว) ปี พ.ศ. ที่ส่งงาน
กกกกกก1.2 ปกใน (หน้า ก, ข) ลักษณะแบบฟอร์มการเขียนหรือพิมพ์จะเป็นเช่นเดียวกับปกนอกเพียงแต่ว่าอักษรจะพิมพ์ธรรมดา ซึ่งอยู่ส่วนในต่อจากปกนอก สำหรับปกในนี้จะมี 2 แผ่น คือ แผนที่หนึ่งจะพิมพ์เป็นภาษาไทยและแผนที่สองจะพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษให้ใช้คำนำหน้านามเป็น นาย, นางสาว หรือนางอย่างใดอย่างหนึ่ง
กกกกกก1.3 หน้าอนุมัติ (หน้า ค) ให้ดูตัวอย่างแบบฟอร์มการพิมพ์ ซึ่งรายชื่อคณะกรรมการการสอบรายงาน แผนกวิชาจะติดประกาศให้ทราบ พร้อมทั้งกำหนดวันสอบ เวลา และห้อง ขอให้ผู้เรียนพิมพ์ชื่อของประธานกรรมการทุกท่านให้ถูกต้อง และจะต้องให้กรรมการเซ็นชื่อกำกับทุกท่าน (ยกเว้นหัวหน้าแผนกเทคนิคโลหะ) หลังจากการผ่านการแก้ไขรายงานและอนุมัติแล้ว ก่อนที่จะนำไปเข้าปก แบบฟอร์มของแผนกและวิทยาลัยต่าง ๆ จะมีความแตกต่างกันผู้เรียนจะต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง
กกกกกก1.4 บทคัดย่อ (หน้า ง)การเขียนข้อความในบทคัดย่อ ต้องเขียนให้ได้ใจความกระชับที่สุดเพื่อให้ผู้อ่านสามารถมองเห็นขอบเขตของงานที่ผู้เรียนได้ทำเนื้อหาของบทคัดย่อควรประกอบไปด้วยรายงานที่ทำ มีขนาดหรือพิกัดมากน้อยแค่ไหน ไปใช้กับอะไร มีส่วนประกอบหรือแผนกอะไรที่ทำให้เป็นระบบขึ้น มีผลการทดสอบและได้ผลเป็นอย่างไรและเทียบกับวิธีอื่นให้ผลแตกต่างกันเป็นอย่างไรบ้าง เป็นต้น อาจจะเขียนให้มากกว่านี้ตามความเหมาะสม แต่ทั้งนี้ความยาวของบทคัดย่อไม่ควรเกินกว่า 2 หน้ากระดาษพิมพ์และไม่ควรมีรูปภาพหรือตารางประกอบ ขอให้พึงระลึกเสมอว่าการเขียนบทคัดย่อควรเขียนหลังจากรายงานได้เสร็จตามขอบเขตของงานหรือวัตถุประสงค์แล้วซึ่งแสดงตัวอย่างแบบฟอร์มการพิมพ์ของหน้าบทคัดย่อ
กกกกกก1.5 กิตติกรรมประกาศ (หน้า จ) เป็นข้อความที่กล่าวขอบพระคุณผู้ช่วยเหลือไม่ว่าจะเป็นด้านใดก็ตามที่ให้ความรู้ ความสะดวก หรือเอกสารบางอย่างที่จำเป็นต่อการค้นคว้า ทั้งนี้ ผู้เรียนสามารถเขียนรายละเอียดส่วนอื่นได้ แต่ต้องอยู่ภายในขอบเขตของข้อความที่เป็นกิตติกรรมประกาศ ปกติไม่ควรเขียนเกิน 1 หน้ากระดาษพิมพ์
กกกกกก1.6 สารบัญ เป็นอีกหน้าหนึ่งที่ต้องพิมพ์ตามแบบฟอร์ม ดังแสดงไว้ในตัวอย่างแบบฟอร์มการพิมพ์ของหน้าสารบัญ เมื่อดูตัวอย่างแล้ว บทคัดย่อจะเริ่มเป็นลำดับแรก ซึ่งตรงกับหน้า (ง) เสมอ
กกกกกก1.7 สารบัญภาพ เป็นสารบัญที่แสดงเฉพาะหน้าที่มีรูปภาพทั้งหมดในส่วนของเนื้อความไม่รวมถึงภาพผนวก ภาพประกอบในที่นี้ หมายถึง ภาพลายเส้น ภาพเขียน ภาพถ่าย แผนภาพ (Diagram) กราฟ แผนภูมิ และอื่น ๆ การเรียงลำดับเลขที่ของภาพก็ให้ยึดถือ รูปแบบเหมือนกับสารบัญตาราง ตัวอย่างเช่น ต้องการเขียนเลขที่ของภาพซึ่งเป็นภาพลำดับ 10 ของบทที่ 2
2. ส่วนเนื้อความ
ในส่วนนี้ก็คือบทต่าง ๆ ของเนื้อเรื่องที่ผู้เรียงจะต้องเขียนและจัดพิมพ์ซึ่งรายละเอียดของแต่ละบทจะมีการเขียนหรือกล่าวถึง ดังนี้
กกกกกกกก2.1 บทที่ 1 บทนำ รายงานฉบับสมบูรณ์ทุกเล่มจะเริ่มบทที่ 1 ด้วยบทนำเสมอซึ่งจะกล่าวถึงความเป็นมาของความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์และขอบเขตของรายงานค้นคว้าและวิจัยวิธีการที่ดำเนินการวิจัยโดยย่อ การสำรวจและวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และประโยชน์ที่จะได้จากรายงานเนื้อเรื่องเหล่านี้ให้เขียนเป็นหัวข้อย่อยของบทนี้ (ขอให้ดูตัวอย่างหน้าสารบัญ)
กกกกกกกก2.2 บทที่ 2 เนื้อเรื่องของบทนี้ จะเป็นทางทฤษฎีที่สำคัญหรือสมมติฐานซึ่งเกี่ยวข้องกับการวิจัยหรือรายงาน (Project) นั้น ๆ หรือเทคนิคการประยุกต์ใช้งานของทฤษฎีดังกล่าวโดยตั้งชื่อบทให้เหมาะสมและสอดคล้องกับเนื้อหาที่จะเขียน
กกกกกกกก2.3 บทที่ 3 จะเป็นเนื้อเรื่องที่เกี่ยวกับการออกแบบ และสร้างรายงานนั้น ๆ ควรจะเขียนให้มีรายละเอียดในแต่ละขั้นตอนเป็นไปตามลำดับของเนื้อหา โดยเริ่มจากขั้นตอนแรก ๆ จนถึงขั้นตอนสุดท้าย ซึ่งจะแบ่งออกเป็นหัวข้อย่อยเช่นเดียวกับบทอื่น ๆ ตามความเหมาะสมสำหรับรายงานที่เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมทางด้านคอมพิวเตอร์กกกกกกกก2.4 บทที่ 4 เป็นเนื้อเรื่องที่เกี่ยวกับผลของการทดลอง หรือทดสอบรายงานนั้น ๆ นับว่าเป็นหัวใจของงานหรือรายงานทีเดียว ฉะนั้นควรมีรายละเอียดมากพอสมควร โดยกล่าวถึงวิธีการทดลองว่ามีกี่วิธี ลักษณะวงจรการทดลองหรือทดสอบ มีผลหือลักษณะทางด้านออก (Output Characteristic) อย่างไร มีรูปคลื่น (Waveform) ที่สำคัญ ๆ ในแต่ละแผนกและมีประสิทธิภาพของเครื่องเช่นไร เป็นต้น ผู้เรียนควรจะมีการสร้างตารางที่ใช้ในการทดลอง เพื่อสะดวกต่อการบันทึกค่าและดูได้ง่าย รวดเร็วสำหรับผู้สนใจรายละเอียดอื่น ๆ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้สอนที่ปรึกษารายงาน
กกกกกกกก2.5 บทที่ 5 สำหรับในเนื้อเรื่องบทนี้จะกล่าวถึง สรุปผลการทดลองหรือทดสอบข้อเสนอแนะในการทำรายงานครั้งต่อไปเพื่อพัฒนาให้ดีขึ้น หรือเพิ่มขีดความสามารถและประสิทธิภาพให้มากขึ้น และอุปสรรคในการทำรายงาน (ถ้ามี) การสรุปผลควรระบุให้ชัดเจนว่าเป็นไปตามหรือสอดคล้องกับขอบเขตของการทำรายงานในบทที่ 1 หรือไม่ และถ้าไม่เป็นไปตามหรือไม่ครบขอบเขตของงาน เนื่องจากเหตุผลอะไร การสรุปผลที่ดีจะต้องเป็นขั้นตอนที่สรุปเรื่องราวที่สำคัญ ๆ ในการทำรายงานทั้งหมด
กกกกกกกกจากที่ได้กล่าวมาในเนื้อความรายงายนี้ อาจจะมีแบ่งบทให้มากกว่านี้ก็ได้ตามความเหมาะสมทั้งนี้จะต้องมีเนื้อเรื่องครอบคลุมอย่างน้อย 5บทตามที่ได้กล่าวมา ซึ่งในแต่ละบทจะต้องมี คำนำประจำบท เสมอ สำหรับคำนำของบทที่ 1 ก็เป็นความเป็นมาและความสำคัญของปัญหานั่นเอง
3. ส่วนอ้างอิง
กกกกกกกกในการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ จำเป็นต้องมีการอ้างอิงเอกสารต่าง ๆ ที่ผู้เรียนไปคัดลอกข้อมูลมา ทั้งนี้ก็เพื่อแสดงหลักฐานที่มาของข้อมูลนั้น เป็นแหล่งที่ผู้สนใจสามารถอ่านเพิ่มเติมต่อไปได้ส่วนนี้จะปรากฏอยู่ต่อจากบทสุดท้ายของส่วนเนื้อความ
กกกกกกกก3.1 เอกสารอ้างอิง (References) หมายถึง รายชื่อเอกสารที่ใช้เป็นหลักฐานค้นคว้าประกอบการเรียบเรียงและมีการอ้างอิงอยู่ในรายงาน ได้แก่ รายชื่อหนังสือ บทความในวารสาร หรือการประชุมสัมมานาทางวิชาการ และวิทยานิพนธ์ เป็นต้น ส่วนใหญ่เอกสารอ้างอิงจะใช้สำหรับการทำรายงาน ในสาขาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์
กกกกกกกก3.2 บรรณานุกรม (Bibliography) หมายถึง รายชื่อของแหล่งความรู้ที่นำมาจัดทำรายงายเรียบเรียงลำดับอักษรของผู้แต่ง มีทั้งประเภทสิ่งตีพิมพ์และไม่ตีพิมพ์ เช่น รายชื่อหนังสือบทความในวารสาร บทความในหนังสืออ้างอิง สิ่งตีพิมพ์อื่น ๆ โสตทัศนวัสดุ รวมทั้งที่ได้จากการฟังการบรรยายและการสัมภาษณ์ เป็นต้น
*สำหรับรายงานฉบับสมบูรณ์จะใช้แต่แบบที่เป็นเอกสารอ้างอิงเท่านั้น
กกกกกกกก3.3 การเขียน “เอกสารอ้างอิง”
กกกกกกกกกกกการเขียน “เอกสารอ้างอิง” ท้ายเล่ม ให้เขียนบันทึกรายการของเอกสารที่อ้างอิงตามลำดับหมายเลขของการอ้างอิงเอกสารในเนื้อหา ในกรณีที่เอกสารภาษาต่างประเทศให้เขียนชื่อท้ายของผู้แต่งขึ้นก่อน ทั้งนี้ไม่จำเป็นต้องจำแนกประเภทของเอกสาร ใช้วิธีเมื่อใช้การอ้างอิงแบบแทรกปนในเนื้อหาด้วยระบบหมายเลข
กกกกกกกก3.4 การอ้างอิงแบบแทรกปนในเนื้อหาด้วยระบบหมายเลข
กกกกกกกกกกกในการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ ให้เขียนการอ้างอิงแทรกบนในเนื้อหาเท่านั้น โดยให้ระบุหมายเขเอกสารที่อ้างอิง ด้วยตัวเลขอารบิก ในเครื่องหมายวงเล็บสี่เหลี่ยม เช่น [1], [2] เป็นต้น ไว้ท้ายชื่อหรือข้อความที่อ้างอิงในเนื้อหา การอ้างอิงแบบแทรกปนไปในเนื้อหาด้วยระบุหมายเลขนี้ เมื่อได้กำหนดเลขใดให้เอกสารใดแล้วทุกครั้งที่อ้างถึงเอกสารเล่มเดิมซ้ำตามที่ต่าง ๆ ในรายงานจะต้องใช้หมายเลขเดิมกำหนดขึ้นไว้แล้วสำหรับเอกสารนั้น แต่หมายเลขหน้าจะเปลี่ยนแปลงไปได้ตามข้อความที่ผู้เขียนต้องการจะอ้างอิงถึง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น